สิทธิในที่ดิน

เจ้าหน้าที่อุทยานสี่รายพ้นข้อหาร่วมกันฆ่า “บิลลี่” พอละจี รักจงเจริญ แต่มหากาพย์เก้าปีการหายตัวไปของนักกิจกรรมกะเหรี่ยงยังไม่จบ คำ
ศาลอาญา ประเทศไทย เริ่มสืบพยานข้อหาฆาตกรรมนักกิจกรรมกะเหรี่ยง “บิลลี่” พอละจี รักจงเจริญ ซึ่งพบซากกระดูกในถังน้ำมัน ครอบครัวสู้คดีอันยาวนานเพื่อความยุติธรรม
คาริน แซคคารี่ นักวิจัยด้านสิทธิมนุษยชน อภิปรายถึงชุดภาพถ่ายที่ไม่เหมือนใครที่ทำหน้าที่บันทึกข้อมูลการวิสามัญฆาตกรรมและบังคับให้สูญหายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
กรณีกะเหรี่ยงบางกลอยที่ถูกขับไล่จากที่อยู่บรรพบุรุษมีแนวโน้มเข้าสู่ชั้นศาล ตัวแทนชาวบางกลอยเข้ายื่นหนังสือกับรัฐบาล เรียกร้องให้ไม่สั่งฟ้องคดีชาวบ้าน 29 รายหลังจากได้ยินข่าวลือว่าอัยการจะสั่งฟ้องข้อหาบุกรุกอุทยานเมื่อพยายามเดินทางกลับ “ใจแผ่นดิน” เมื่อปี 2564 ขณะเดียวกัน ศาลฎีกานัดอ่านคำพิพากษาคดีคล้ายกันที่นางแสงเดือน ตินยอด ถูกขับไล่จากที่ดินจ.ลำปางปลายกันยายนนี้
คืบหน้าความจริงกรณีอุ้มหายนักปกป้องสิทธิมนุษยชนชาวกะเหรี่ยง “บิลลี่” พอละจี รักจงเจริญ วันจันทร์ที่ผ่านมา สำนักงานอัยการสูงสุดแจ้งคำสั่งชี้ขาดสี่เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติข้อหาลักพาตัวและฆาตกรรมนักกิจกรรมกะเหรี่ยงเมื่อเมษายน ปี 2557
ชุต วุฒิ นักสิ่งแวดล้อมกัมพูชาถูกเจ้าหน้าที่ทหารยิงเสียชีวิตกลางป่ากระวานเมื่อสิบปีก่อน ผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ถูกถางโดยบริษัทที่มีผู้มีอิทธิพลอยู่เบื้องหลัง รวมถึงกองทัพ วันนี้ ป่าที่วุฒิหวงแหนเหลือเพียงที่โล่ง ละลานตาด้วยเขื่อนพลังงานน้ำ
"ป่าคือบ้านของเรา บรรพบุรุษของพวกเราช่วยรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของธรรมชาติมาตลอด ถ้าสิ่งที่รัฐบาลพูดเป็นความจริง ถ้าเราเป็นคนทำลายป่าไม้ เราคงไม่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากมายเช่นนี้” แบงค์ว่า เด็กหนุ่มกะเหรี่ยงบ้านบางกลอยฝันถึงการกลับไปอยู่ที่บ้านเกิดของบรรพบุรุษในส่วนลึกของป่าแก่งกระจานเสมอ ความฝันของแบงค์คล้ายกับมิจัก นักศึกษาชาวอูรังริมบาที่เกาะสุมาตราซึ่งพยายามรักษาวิถีชนพื้นเมืองและบ้านที่เขตอุทยานแห่งชาติประกาศทั
หลังจากมีโครงการสร้างเขื่อนเมื่อ 30 ปีก่อน ชาวบ้านราษีไศลในภาคอีสานต้องต่อสู้เรียกร้องค่าชดเชยจากรัฐนานหลายสิบปี และสูญเสียรายได้จากระบบนิเวศที่เสื่อมโทรมลง
error: Content is protected !!